foto1
foto1
foto1
foto1
foto1

In the name of Allah I بِسْــــــــــــــــــمِ اﷲِالرَّحْمَنِ اارَّحِيم

Assalamualaikum I اَلسَّلَامُ عَلَيْكُم

ขอความสันติ จงมีแด่ท่าน I Peace Be Upon You

WELCOME TO IICTH.COM I ยินดีต้อนรับ สู่เว็บไซต์

ศูนย์สารสนเทศอิสลาม I Islamic Information Center

ภาพ-นิทรรศการ

25,10,0,50,1
5,600,50,1,3000,500,25,800
100,150,1,50,12,30,50,1,70,12,1,40,1,1,1,3000
0,1,0,0,2,40,15,5,2,1,0,17,0,1
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW..
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...
Loves Of Muhammad SAW...

ปฏิกิริยาของกระทรวงสาธารณสุขอิหร่านต่อข่าวการผลิตยาต้านไวรัสโคโรนา

โฆษกกระทรวงสาธารณสุขของอิหร่านปฏิเสธการผลิตยาต่อต้านไวรัสโคโรนาพร้อมกับกล่าวว่า : "มันไม่ใช่ยา แต่เป็นวิธีการบำบัดอย่างหนึ่งโดยใช้สเต็มเซลล์"

     มัชริกรายงาน : ดร. กิยานูช ญะฮอนพูร กล่าวในการแสดงปฏิกิริยาต่อข่าวเกี่ยวกับการผลิตยาต้านไวรัสโคโรนาของอิหร่านว่า : มันไม่ใช่ยา แต่เป็นวิธีการรักษาโดยใช้เซลล์มีเซนไคมอล (Mesenchymal cells) เพื่อรักษาไวรัสโคโรนา

     เขากล่าวเสริมว่า : “นี่เป็นวิธีการบำบัดหนึ่งโดยอาศัยเซลล์ ซึ่งยังอยู่ในขั้นตอนการศึกษาวิจัยและการตอบสนองในเชิงบวกของมันได้มีการรายงานไปแล้ว”

     นอกจากนี้ ดร. มัสอูด สุไลมานี นักวิจัยด้านเซลล์ต้นกำเนิด (สเต็มเซลล์) ได้กล่าวว่า เขากำลังทำงานร่วมกับทีมวิจัยที่ใช้เซลล์ต้นกำเนิดชนิดมีเซนไคม์ (Mesenchymal Stem Cells) หรือ “เอ็มเอสซี” (MSC's) เพื่อปรับการตอบสนองของระบบภูมิคุ้มกันในผู้ป่วยไวรัสโคโรนา

     เขาย้ำว่า นี่เป็นวิธีการรักษาที่กำลังการวิจัย

     ดร.สุไลมานีกล่าวว่า ผลการทดลองทางคลินิกขั้นแรกจะประกาศโดยกระทรวงสาธารณสุขในเร็ว ๆ นี้และหากผลลัพธ์เป็นที่น่าพอใจกระทรวงสาธารณสุขจะประกาศขั้นตอนต่างๆ ต่อไป


ที่มา : มัชริก

ศูนย์สารสนเทศอิสลาม สถาบันส่งเสริมการศึกษาและวิจัยเกี่ยวกับอิสลาม